🌷 Initial sound: ㄲㄷ

ระดับสูง : 3 ☆☆ ระดับกลาง : 12 ☆☆☆ ระดับเบื้องต้น : 7 NONE : 9 ALL : 31

끼다 : 벌어진 사이에 무엇을 넣고 죄어서 빠지지 않게 하다. ☆☆☆ คำกริยา
🌏 ใส่, เกี่ยว: ใส่สิ่งใด ๆ ไว้ระหว่างส่วนที่แยกออกจากกันแล้วหนีบไม่ให้หลุด

꾸다 : 잠을 자는 동안에 꿈속에서 실제처럼 보고 듣고 느끼고 하다. ☆☆☆ คำกริยา
🌏 ฝัน: ได้เห็น ได้ยินเสียงและมีความรู้สึกเหมือนเรื่องจริงในความฝันขณะที่นอนหลับ

끊다 : 실, 줄, 끈 등의 이어진 것을 잘라 따로 떨어지게 하다. ☆☆☆ คำกริยา
🌏 ตัด, ทำให้ขาด: ตัดสิ่งที่ต่อเนื่องกัน เช่น ด้าย เชือก สาย เป็นต้น และทำให้แยกออกจากกัน

끓다 : 액체가 몹시 뜨거워져서 거품이 솟아오르다. ☆☆☆ คำกริยา
🌏 เดือด: ของเหลวร้อนขึ้นเป็นอย่างมาก จึงมีควันพุ่งออกมา

깎다 : 칼과 같은 도구로 물건의 표면이나 과일 등의 껍질을 얇게 벗겨 내다. ☆☆☆ คำกริยา
🌏 ปอก, เหลา: หั่นผิวของสิ่งของหรือเปลือกผลไม้ออกบาง ๆ ด้วยอุปกรณ์เช่นมีด

깨다 : 취한 상태에서 벗어나 원래의 또렷한 정신 상태로 돌아오다. ☆☆☆ คำกริยา
🌏 สร่าง(เมา), สร่าง(เหล้า): พ้นจากสภาพที่เมาและกลับมาอยู่ในสภาพเดิมที่มีสติสัมปชัญญะ

끄다 : 타는 불을 못 타게 하다. ☆☆☆ คำกริยา
🌏 ดับ(ไฟ): ทำให้ไฟที่ไหม้ไม่ให้ไหม้

끼다 : 구름이나 안개, 연기 등이 퍼져서 엉기다. ☆☆ คำกริยา
🌏 ปกคลุม, แผ่คลุม, มี(เมฆ, หมอก, ควัน): เมฆ หมอกหรือควัน เป็นต้น แผ่กระจายและจับตัวกัน

끼다 : 벌어진 사이에 넣어지고 죄여 빠지지 않게 되다. ☆☆ คำกริยา
🌏 เกี่ยว, ติด, หนีบ: ถูกใส่ลงไปในช่องว่างที่ถูกขยายออกแล้วถูกบีบรัด จึงกลายเป็นที่ไม่หลุดออก

깨다 : 단단한 물체를 쳐서 조각이 나게 하다. ☆☆ คำกริยา
🌏 แตก: ตีวัตถุแข็งให้เป็นชิ้นเล็ก ๆ

꽂다 : 일정한 곳에 끼워 넣거나 세우다. ☆☆ คำกริยา
🌏 ปัก, เสียบ, สอด: ใส่เข้าไปหรือทำให้ตั้งอยู่บนที่หนึ่ง ๆ

꿇다 : 무릎을 굽혀 땅에 대다. ☆☆ คำกริยา
🌏 คุกเข่า: ย่อเข่าลงให้ติดพื้น

까다 : 껍질이나 껍데기를 벗기다. ☆☆ คำกริยา
🌏 ปอก, แกะ, แคะ, ลอก: ปอกเปลือกหรือหนังออก

까닭 : 어떠한 일이 생기거나 어떠한 일을 하게 된 이유나 사정. ☆☆ คำนาม
🌏 เหตุผล, สาเหตุ, เรื่อง, เหตุ, เหตุการณ์: สาเหตุหรือเหตุผลที่ทำให้ทำสิ่งใด ๆ หรือทำให้เกิดเหตุการณ์ใด ๆ

깔다 : 바닥에 펴 놓다. ☆☆ คำกริยา
🌏 กาง, คลี่, ปู: ปูไว้ที่พื้น

꺾다 : 물체를 구부려 펴지지 않게 하거나 부러뜨리다. ☆☆ คำกริยา
🌏 หัก, เด็ด: งอวัตถุไม่ให้ยืดออก หรือทำวัตถุหัก

꼽다 : 수나 날짜를 세려고 손가락을 하나씩 헤아리다. ☆☆ คำกริยา
🌏 นับ: คำนวณจำนวนหรือวันทีละหนึ่งโดยการนับนิ้วมือ

꾸다 : 나중에 갚기로 하고 남의 것을 빌리다. ☆☆ คำกริยา
🌏 ยืม, ขอยืม, กู้: ยืมของผู้อื่นโดยตกลงว่าจะคืนให้ในภายหลัง

끌다 : 바닥에 댄 채로 잡아당겨 움직이다. ☆☆ คำกริยา
🌏 ลาก, ดึง, จูง, ทึ้ง: เคลื่อนไหวโดยจับลากตามที่ไว้กับพื้น

꼬다 : 실처럼 길고 가느다란 것을 여러 가닥 모아서 비비면서 감아서 하나의 줄로 만들다. คำกริยา
🌏 ฟั่น, บิดเป็นเกลียว, ทำให้เป็นเกลียว: เอาสิ่งที่มีลักษณะยาวและบางเหมือนกับเส้นด้ายหลาย ๆ เส้นมารวม และเกลียวม้วน แล้วทำให้เป็นเส้นเดียว

꿰다 : 구멍을 통해 실이나 끈 등을 한쪽에서 다른 쪽으로 나가게 하다. คำกริยา
🌏 ร้อย, สน: สอดด้ายหรือเชือกผ่านรูให้ออกไปยังอีกด้านหนึ่งของรู

뀌다 : 방귀를 몸 밖으로 내보내다. คำกริยา
🌏 ตด, ผายลม: ปล่อยให้ตดออกนอกร่างกาย

꾀다 : 그럴듯한 말이나 행동으로 남을 부추겨 자기가 원하는 방향으로 끌다. คำกริยา
🌏 ยั่วยุ่, ชักจูง, จูงใจ, ล่อ, ล่อลวง: ยั่วยุ่ผู้อื่นด้วยการกระทำหรือคำพูดที่น่าเป็นไปได้ให้ทำตามที่ตนเองต้องการ

까다 : 금액에서 미리 빼다. คำกริยา
🌏 หัก, หักออก, ลบออก: หักออกจากจำนวนเงินเต็มล่วงหน้า

까닥 : 고개나 손가락을 아래위로 가볍게 한 번 움직이는 모양. คำวิเศษณ์
🌏 ผงก(ศีรษะ), พยัก(หน้า), กระดิก(นิ้ว): ท่าทางขยับศีรษะหรือนิ้วมือขึ้นลงอย่างเบา ๆ หนึ่งครั้ง

깨다 : 알이 품어져 새끼가 껍질을 깨고 나오게 되다. คำกริยา
🌏 ฟักไข่, กระเทาะออก: ไข่ถูกกก จึงลูกของสัตว์ได้ฟักเปลือกออกมา

꽃대 : 꽃이 달리는 줄기. คำนาม
🌏 ก้านดอก: กิ่งก้านที่มีดอกไม้ติดอยู่

꽃등 (꽃 燈) : 종이로 만든 꽃 모양의 등. คำนาม
🌏 โคมไฟรูปดอกไม้: โคมไฟรูปทรงดอกไม้ทำจากกระดาษ

꾀다 : 벌레나 사람이 한곳에 많이 모여 무질서하게 움직이다. คำกริยา
🌏 รุมล้อม, ตอม: แมลงหรือคนรวมตัวกันในที่เดียวแล้วเคลื่อนที่อย่างไม่เป็นระเบียบ

끄덕 : 머리를 가볍게 아래위로 한 번 움직이는 모양. คำวิเศษณ์
🌏 โดยพยักหน้า, โดยการผงกศีรษะ: ลักษณะการขยับศีรษะขึ้นลงเล็กน้อยครั้งเดียว

끝동 : 한복 저고리 옷소매의 끝에 다른 천을 댄 부분. คำนาม
🌏 ปลายแขนเสื้อ, ขอบแขนเสื้อ: ส่วนที่ติดผ้าชิ้นอื่นไว้ที่ปลายของแขนเสื้อชอโกรี


:
การอธิบายอาหาร (78) อากาศและฤดูกาล (101) รูปลักษณ์ภายนอก (121) การชมภาพยนตร์ (105) มนุษยสัมพันธ์ (255) การใช้บริการร้านขายยา (10) การแสดงและการรับชม (8) การแนะนำ(ครอบครัว) (41) การนัดหมาย (4) สถาปัตยกรรม (43) การใช้ชีวิตในโรงเรียน (208) วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (91) งานครอบครัว (57) การบริหารเศรษฐกิจ (273) การหาทาง (20) การซื้อของ (99) การใช้ชีวิตในเวลาว่าง (48) การเปรียบเทียบวัฒนธรรม (78) การบอกความรู้สึก/อารมณ์ (41) การขอบคุณ (8) ชีวิตในเกาหลี (16) จิตวิทยา (191) การใช้บริการองค์กรสาธารณะ(ไปรษณีย์) (8) การใช้บริการองค์กรสาธารณะ(ห้องสมุด) (6) การใช้บริการองค์กรสาธารณะ (59) มนุษยสัมพันธ์ (52) การแนะนำ(ตนเอง) (52) การบอกวันในสัปดาห์ (13) การโทรศัพท์ (15) ประวัติศาสตร์ (92)