💕 Start:

ระดับสูง : 5 ☆☆ ระดับกลาง : 4 ☆☆☆ ระดับเบื้องต้น : 5 NONE : 35 ALL : 49

: 여자가 형제나 친척 형제들 중에서 자기보다 나이가 많은 여자를 이르거나 부르는 말. ☆☆☆ คำนาม
🌏 อ็อนนี : พี่สาว: คำที่ผู้หญิงกล่าวถึงหรือเรียกผู้หญิงที่มีอายุมากกว่าตนเอง ในบรรดาพี่น้องหรือญาติพี่น้อง

어 (言語) : 생각이나 느낌 등을 나타내거나 전달하는 음성이나 문자 등의 수단. 또는 그 체계. ☆☆☆ คำนาม
🌏 ภาษา, ระบบภาษา: เครื่องมือ เช่น เสียงหรือตัวอักษร เป็นต้น ที่ใช้ถ่ายทอดหรือแสดงความคิดหรือความรู้สึก เป็นต้น หรือระบบดังกล่าว

: 알지 못하는 어느 때. ☆☆☆ คำสรรพนาม
🌏 เมื่อไร: เวลาใด ๆ ที่ไม่สามารถรู้ได้

: 알지 못하는 어느 때에. ☆☆☆ คำวิเศษณ์
🌏 เมื่อไร: ตอนที่ไม่ทราบชัดว่าเป็นเวลาใด

제나 : 어느 때에나. 또는 때에 따라 달라지지 않고 변함없이. ☆☆☆ คำวิเศษณ์
🌏 เมื่อใดก็ตาม, เสมอ ๆ: ตอนใดก็ตาม หรือไม่เปลี่ยนแปลงโดยไม่เปลี่ยนไปตามเวลา

급 (言及) : 어떤 일이나 문제에 대해 말함. ☆☆ คำนาม
🌏 การพูด, การกล่าว, การอ้าง, การเอ่ยถึง: การพูดเกี่ยวกับปัญหาหรือเรื่องใด ๆ

덕 : 낮은 산처럼 비스듬하게 경사져 있고, 보통 땅보다 약간 높이 솟아 있는 곳. ☆☆ คำนาม
🌏 เนิน, เนินเขา: สถานที่ที่พุ่งสูงขึ้นเล็กน้อยกว่าพื้นดินปกติ มีความลาดเอียงเหมือนภูเขาเตี้ย ๆ

론 (言論) : 신문이나 방송 등의 매체에서 어떤 사실이나 의견을 널리 알리는 것. ☆☆ คำนาม
🌏 สื่อมวลชน, สื่อ: สิ่งที่บอกเล่าความจริงหรือทัศนะใด ๆ ให้เผยแพร่ออกไปในทางหนังสือพิมพ์ วิทยุโทรทัศน์ เป็นต้น

젠가 : 미래의 어느 때에. ☆☆ คำวิเศษณ์
🌏 เมื่อใด, เมื่อใดไม่รู้, ในสักวัน: ในตอนใดของอนาคต

뜻 : 지나는 사이에 잠깐 나타나는 모양. คำวิเศษณ์
🌏 แว้บ, ชั่วคราว, ชั่วครู่, กะทันหัน: ลักษณะที่ปรากฏชั่วคราวในระหว่างที่ผ่าน

론사 (言論社) : 신문사, 방송국 등 언론을 담당하는 회사. คำนาม
🌏 บริษัทสื่อสารมวลชน: บริษัทที่รับผิดชอบด้านสื่อสารมวลชน เช่น บริษัทหนังสือพิมพ์ สถานีวิทยุโทรทัศน์ เป็นต้น

론인 (言論人) : 신문사, 잡지사, 방송국 등의 언론 기관에서 언론과 관계된 일을 직업으로 하는 사람. คำนาม
🌏 นักสื่อสารมวลชน, คนในแวดวงสื่อมวลชน: คนที่ประกอบอาชีพเกี่ยวกับการสื่อสารมวลชนในองค์กรสื่อสารมวลชน เช่น บริษัทหนังสือพิมพ์ นิตยสาร สถานีวิทยุโทรทัศน์ เป็นต้น

짢다 : 마음에 들지 않거나 기분이 좋지 않다. คำคุุณศัพท์
🌏 ไม่พอใจ, ไม่สบอารมณ์: ไม่ถูกใจหรืออารมณ์ไม่ดี

행 (言行) : 말과 행동. คำนาม
🌏 คำพูดและการกระทำ: คำพูดและการกระทำ

발에 오줌 누기 : 잠깐 효과가 있을지는 모르나 그 효과가 오래가지도 않고 결국에는 오히려 상태가 더 나빠지는 일.
🌏 (ป.ต.)ปัสสาวะบนเท้าที่แข็ง ; แย่กว่าเดิม, ซ้ำเติมลงไปกว่าเดิม: การที่อาจมีประสิทธิภาพชั่วคราวแต่ประสิทธิภาพนั้นก็มีได้ไม่นานแล้วสภาพกลับกลายเป็นแย่ลงกว่าเดิม

감생심 (焉敢生心) : 감히 그러한 마음을 품을 수 있겠냐는 뜻으로, 전혀 그런 마음이 없다는 말. คำนาม
🌏 การไม่กล้าได้แต่เพียงเก็บไว้ในใจ: แปลว่าจะอาจหาญเก็บไว้ในใจอย่างนั้นได้อย่างไร หมายถึงไม่มีความคิดเช่นนั้นเลยแม้แต่น้อย

급되다 (言及 되다) : 어떤 일이나 문제에 대해 말해지다. คำกริยา
🌏 ถูกพูด, ถูกกล่าว, ถูกอ้าง, ถูกเอ่ยถึง: ถูกพูดเกี่ยวกับปัญหาหรืองานใด ๆ

급하다 (言及 하다) : 어떤 일이나 문제에 대해 말하다. คำกริยา
🌏 พูด, กล่าว, อ้าง, เอ่ยถึง: พูดเกี่ยวกับปัญหาหรืองานใด ๆ

덕길 : 언덕에 걸쳐 난 비탈진 길. คำนาม
🌏 ทางเนิน: ทางที่ลาดเอียงข้ามเนิน

덕배기 : 언덕의 꼭대기. 또는 언덕의 몹시 비탈진 곳. คำนาม
🌏 ยอดเนิน, เนินสูง, ที่ลาดเอียง, ที่สูงชัน: ยอดของเนิน หรือจุดที่ลาดเอียงมากบนเนิน

도 (言渡) : 법정에서 재판장이 판결을 알림. คำนาม
🌏 การพิพากษา, การตัดสิน: การที่หัวหน้าคณะผู้พิพากษาประกาศผลการพิจารณาตัดสินในศาล

도하다 (言渡 하다) : 법정에서 재판장이 판결을 알리다. คำกริยา
🌏 พิพากษา, ตัดสิน: หัวหน้าคณะผู้พิพากษาแจ้งการพิจารณาตัดสินในทางกฎหมาย

뜻언뜻 : 지나는 사이에 계속 잠깐씩 나타나는 모양. คำวิเศษณ์
🌏 แว้บ ๆ, ชั่วคราว, ชั่วครู่, กะทันหัน: ลักษณะที่ปรากฏทีละนิดชั่วคราวต่อเนื่องในระหว่างที่ผ่าน

론 기관 (言論機關) : 신문사, 잡지사, 방송국 등 뉴스와 정보, 의견 등을 대중에게 제공하는 기관. None
🌏 องค์กรสื่อสารมวลชน: องค์กรที่บริการความคิดเห็น ข้อมูลและข่าวสาร เป็นต้น ให้แก่มวลชน สถานีถ่ายทอดสดและกระจายเสียง โรงพิมพ์นิตยสาร โรงพิมพ์หนังสือพิมพ์ เป็นต้น

론계 (言論界) : 언론과 관계된 일을 직업으로 하는 사람들이 활동하는 사회. คำนาม
🌏 วงการสื่อสารมวลชน, วงการสื่อ, แวดวงสื่อ: สังคมที่ผู้คนที่ทำงานเกี่ยวกับสื่อสารมวลชนเป็นอาชีพทำกิจกรรมอยู่

문 (言文) : 말과 글. คำนาม
🌏 ภาษาพูดและภาษาเขียน: คำพูดและตัวอักษร

변 (言辯) : 말을 잘하는 솜씨. คำนาม
🌏 ทักษะการพูดดี, ฝีปากดี, ฝีปากคมคาย, คารมคมคาย: ทักษะในการพูดที่เก่ง

사 (言辭) : 말이나 말씨. คำนาม
🌏 การพูด, คำพูด, สำเนียงการพูด: การพูดหรือคำพูด

성 (言聲) : 말하는 목소리. คำนาม
🌏 เสียงพูด, น้ำเสียง: เสียงที่พูด

약 (言約) : 말로 약속함. 또는 그런 약속. คำนาม
🌏 คำมั่นสัญญา: การนัดหมายด้วยวาจา หรือนัดดังกล่าว

약하다 (言約 하다) : 말로 약속하다. คำกริยา
🌏 ให้คำมั่นสัญญา, ให้สัญญา: สัญญาด้วยคำพูด

어 능력 (言語能力) : 언어를 사용하는 사람이 끝없이 많은 수의 문법적인 문장을 만들어 낼 수 있는 능력. None
🌏 ความสามารถทางภาษา, ทักษะทางภาษา: ความสามารถที่คนที่ใช้ภาษาสามารถสร้างประโยคทางไวยากรณ์ได้จำนวนมากไม่มีสิ้นสุด

어 수행 (言語遂行) : 구체적인 상황에서 언어를 실제로 사용하는 것. None
🌏 การใช้ภาษา: การใช้ภาษาตามความเป็นจริงในสถานการณ์ที่เป็นรูปธรรม

어 예술 (言語藝術) : 시, 소설, 희곡 등과 같이 말이나 글을 표현 수단으로 하는 예술. None
🌏 ศิลปะเชิงภาษา: ศิลปะที่เป็นวิธีการแสดงตัวอักษรหรือคำพูด บทกวี นวนิยาย บทละคร เป็นต้น

어 장애 (言語障礙) : 말을 정확하게 발음할 수 없거나 이해할 수 없는 병의 증상. None
🌏 อุปสรรคทางการพูด, การพูดไม่ได้, การพูดออกเสียงไม่ได้, การพูดที่ผิดปกติ: อาการของโรคที่ไม่สามารถเข้าใจหรือไม่สามารถออกเสียงคำพูดได้ชัดเจน

어 활동 (言語活動) : 말과 글로 이해하고 표현하는 활동. None
🌏 กิจกรรมทางภาษา, ทักษะทางภาษา: กิจกรรมที่แสดงออกและเข้าใจโดยภาษาเขียนและภาษาพูด

어생활 (言語生活) : 말하기, 듣기, 쓰기, 읽기의 네 가지 언어 행동 면에서 본 인간의 생활. คำนาม
🌏 ทักษะทางภาษาในชีวิตประจำวัน, ภาษาในชีวิตประจำวัน: การใช้ชีวิตของมนุษย์ในด้านภาษาสี่ด้าน คือ การพูด การฟัง การเขียน การอ่าน

어적 (言語的) : 말이나 글에 관한 것. 또는 말이나 글로 하는 것. คำนาม
🌏 ที่เกี่ยวกับภาษา: สิ่งที่เกี่ยวกับคำพูดหรือตัวอักษร หรือการที่ใช้คำพูดหรือตัวอักษร

어적 (言語的) : 말이나 글에 관한. 또는 말이나 글로 하는. คุณศัพท์
🌏 ที่เกี่ยวกับภาษา: ที่เกี่ยวกับคำพูดหรือตัวอักษร หรือที่ใช้คำพูดหรือตัวอักษร

어학 (言語學) : 언어를 연구하는 학문. คำนาม
🌏 ภาษาศาสตร์: ศาสตร์ที่วิจัยภาษา

어학자 (言語學者) : 언어에 관한 학문을 연구하는 사람. คำนาม
🌏 นักภาษาศาสตร์: คนที่วิจัยศาสตร์เกี่ยวกับภาษา

쟁 (言爭) : 자기가 옳다고 말로 다투는 일. คำนาม
🌏 การทะเลาะ, การทะเลาะวิวาท, การวิวาท: การทะเลาะด้วยคำพูดว่าตัวเองถูกต้อง

쟁하다 (言爭 하다) : 자기가 옳다고 말로 다투다. คำกริยา
🌏 ทะเลาะ, ทะเลาะวิวาท, วิวาท: ทะเลาะด้วยคำพูดว่าตัวเองถูกต้อง

저리 : 어떤 물건이나 장소 등을 둘러싼 끝이나 가장자리. คำนาม
🌏 รอบ, ขอบ: ปลายหรือขอบสุดที่ล้อมรอบไปด้วยสิ่งของบางอย่างหรือสถานที่บางแห่ง เป็นต้น

중 (言中) : 말 가운데. 또는 말을 하는 가운데. คำนาม
🌏 ระหว่างคำพูด, ระหว่างที่พูด: ในคำพูด หรือระหว่างที่พูด

중유골 (言中有骨) : 말 속에 뼈가 있다는 뜻으로, 평범한 말 속에 속뜻이 있다는 말. คำนาม
🌏 คำพูดที่มีความหมายแฝง, คำพูดที่แฝงสาระ: คำที่แปลว่ามีกระดูกอยู่ในคำพูด ซึ่งหมายถึงมีความหมายแฝงอยู่ในคำพูดที่ธรรมดา ๆ

질 (言質) : 나중에 증거가 될 말. 또는 앞으로의 일에 대해 추측할 수 있게 하는 말. คำนาม
🌏 คำมั่นสัญญา, คำสัญญา, คำปฏิญาณ: คำพูดที่จะกลายเป็นหลักฐานภายหลัง หรือคำพูดที่ทำให้สันนิษฐานเกี่ยวกับเรื่องในภายหน้าได้

짢아하다 : 마음에 들지 않거나 못마땅하게 여기다. คำกริยา
🌏 ไม่พอใจ, ไม่สบอารมณ์: ไม่ถูกใจหรือนึกอย่างไม่ชอบ

행일치 (言行一致) : 말과 행동이 같음. 또는 말한 대로 실행함. คำนาม
🌏 การพูดจริงทำจริง, การทำตามที่พูด, การมีสัจจะ: การที่คำพูดและการกระทำเหมือนกัน หรือการปฏิบัติตามที่พูด


:
การบอกตำแหน่งที่ตั้ง (70) วัฒนธรรมมวลชน (52) ปัญหาสังคม (67) ข้อมูลทางภูมิศาสตร์ (138) การบอกความรู้สึก/อารมณ์ (41) อากาศและฤดูกาล (101) งานบ้าน (48) การสั่งอาหาร (132) การเชื้อเชิญและการเยี่ยมเยือน (28) การนัดหมาย (4) การบอกบุคลิกลักษณะ (365) การศึกษา (151) การหาทาง (20) การใช้บริการร้านขายยา (10) ศาสนา (43) การชมภาพยนตร์ (105) การพรรณนาเหตุการณ์ อุบัติเหตุ ภัยพิบัติ (43) วัฒนธรรมการกิน (104) การแนะนำ(ตนเอง) (52) การซื้อของ (99) สื่อมวลชน (47) ปรัชญาและศีลธรรม (86) การใช้บริการองค์กรสาธารณะ(ห้องสมุด) (6) ความแตกต่างด้านวัฒนธรรม (47) การใช้บริการองค์กรสาธารณะ (59) การขอโทษ (7) การแสดงและการรับชม (8) การท่องเที่ยว (98) การแลกเปลี่ยนข้อมูลส่วนบุคคล (46) การใช้บริการองค์กรสาธารณะ(ไปรษณีย์) (8)