💕 Start:

ระดับสูง : 2 ☆☆ ระดับกลาง : 0 ☆☆☆ ระดับเบื้องต้น : 0 NONE : 18 ALL : 20

통성 (融通性) : 돈이나 물품 등을 돌려쓸 수 있는 성질. คำนาม
🌏 เครดิตทางการเงิน, ความน่าเชื่อถือ: ลักษณะที่สามารถยืมใช้เงินหรือสิ่งของได้ เป็นต้น

합 (融合) : 다른 종류의 것이 녹아서 서로 구별이 없게 하나로 합해지거나 그렇게 만듦. 또는 그런 일. คำนาม
🌏 การหลอมรวม, การรวมตัว, การเชื่อม, การประสานรวมกัน, การผสมรวม, การรวมเข้ากัน: การที่สิ่งของต่างชนิดกันหลอมละลายแล้วถูกรวมกันเป็นหนึ่งอย่างไม่มีการแบ่งแยกซึ่งกันและกันหรือการทำเช่นนั้น หรืองานดังกล่าว

기 (隆起) : 높게 일어나 들뜸. คำนาม
🌏 การบวมขึ้น, การโปนขึ้น, ตุ่ม: การหลุดโดยขึ้นมาอย่างสูง

기하다 (隆起 하다) : 높게 일어나 들뜨다. คำกริยา
🌏 สูงขึ้น, โผล่สูงขึ้น, นูนขึ้น: หลุดโดยขึ้นมาอย่างสูง

단 (絨緞) : 양털 등의 털을 겉에 보풀이 일게 짠 두꺼운 천. คำนาม
🌏 พรม, พรมขนสัตว์, พรมปูพื้น: ผ้าที่ทอของขนแกะหรือสิ่งอื่นอย่างหนาโดยเพื่อให้เกิดขุยขึ้น

성 (隆盛) : 기운차게 일어나거나 세력이 대단히 커져서 널리 퍼짐. คำนาม
🌏 ความเจริญ, ความรุ่งเรือง, ความรุ่งโรจน์, ความเจริญรุ่งเรือง, ความสำเร็จ, ความมั่งคั่ง, ความเฟื่องฟู: การแพร่หลายออกไปอย่างกว้างขวางเพราะอิทธิพลขยายใหญ่ขึ้นเป็นอย่างมากหรือเกิดขึ้นอย่างมีชีวิตชีวา

성기 (隆盛期) : 기운차게 일어나는 시기. 또는 세력이 대단히 커져서 널리 퍼지는 시기. คำนาม
🌏 สมัยเจริญรุ่งเรือง, ช่วงรุ่งเรือง, ยุคมั่งคั่ง, สมัยเฟื่องฟู: ยุคที่แพร่หลายออกไปอย่างกว้างขวางเพราะอิทธิพลขยายใหญ่ขึ้นเป็นอย่างมากหรือยุคที่เกิดขึ้นอย่างมีชีวิตชีวา

성하다 (隆盛 하다) : 기운차게 일어나거나 세력이 대단히 커져서 널리 퍼지다. คำกริยา
🌏 เจริญ, รุ่งเรือง, รุ่งโรจน์, เจริญรุ่งเรือง, มั่งคั่ง, เฟื่องฟู: แพร่หลายออกไปอย่างกว้างขวางเพราะอิทธิพลขยายใหญ่ขึ้นเป็นอย่างมากหรือเกิดขึ้นอย่างมีชีวิตชีวา

숭하다 (隆崇 하다) : 대하는 태도가 정성스럽고 마음을 다하여 애를 쓰는 데가 있다. คำคุุณศัพท์
🌏 ด้วยใจจริง, ด้วยไมตรีจิต, น้ำใสใจจริง, อย่างอบอุ่น, โอบอ้อมอารี, ด้วยใจยินดี: ท่าทางที่ปฏิบัติต่อนั้นมีความเอาใจใส่และมีความพยายามโดยใช้จิตใจทั้งหมด

자 (融資) : 은행 등의 금융 기관에서 돈을 빌려줌. 또는 그 돈. คำนาม
🌏 การให้กู้เงิน, การให้กู้ยืมเงิน, เงินกู้: การที่องค์กรการเงิน เช่น ธนาคาร เป็นต้น ให้ยืมเงิน หรือเงินดังกล่าว

자금 (融資金) : 은행 등의 금융 기관에서 빌려주는 돈. คำนาม
🌏 เงินกู้, เงินกู้ยืม: เงินที่ให้ยืมจากองค์กรการเงิน เช่น ธนาคาร เป็นต้น

자하다 (融資 하다) : 은행 등의 금융 기관에서 돈을 빌려주다. คำกริยา
🌏 ให้กู้, ให้กู้ยืม: ให้ยืมเงินจากองค์กรการเงิน เช่น ธนาคาร เป็นต้น

통 (融通) : 돈이나 물건 등을 돌려씀. คำนาม
🌏 การยืม ,การกู้, การกู้ยืม, การขอยืม: การยืมใช้เงินหรือสิ่งของ เป็นต้น

통되다 (融通 되다) : 돈이나 물건 등이 돌려쓰이다. คำกริยา
🌏 ถูกยืม, ถูกกู้, ถูกกู้ยืม, ถูกขอยืม: ถูกยืมไปใช้ เช่น เงินหรือสิ่งของ เป็นต้น

통하다 (融通 하다) : 돈이나 물건 등을 돌려쓰다. คำกริยา
🌏 ยืม ,กู้, กู้ยืม, ขอยืม: ยืมใช้เงินหรือสิ่งของ เป็นต้น

합되다 (融合 되다) : 다른 종류의 것이 녹아서 서로 구별이 없게 하나로 합해지다. คำกริยา
🌏 ถูกหลอมรวม, ถูกเชื่อม, ถูกรวมเข้ากัน, ถูกประสานรวมกัน, ถูกผสมรวม: สิ่งของต่างชนิดกันหลอมละลายแล้วถูกรวมกันเป็นหนึ่งอย่างไม่มีการแบ่งแยกซึ่งกันและกัน

합하다 (融合 하다) : 다른 종류의 것이 녹아서 서로 구별이 없게 하나로 합해지다. 또는 다른 종류의 것을 녹여서 서로 구별이 없게 하나로 합하다. คำกริยา
🌏 หลอมรวม, รวมตัว, เชื่อม, ประสานรวมกัน, ผสมรวม, รวมเข้ากัน, ถูกหลอมรวม, ถูกเชื่อม, ถูกรวมเข้ากัน: สิ่งของต่างชนิดกันหลอมละลายแล้วถูกรวมกันเป็นหนึ่งอย่างไม่มีการแบ่งแยกซึ่งกันและกัน หรือหลอมละลายสิ่งของต่างชนิดกันแล้วรวมกันเป็นหนึ่งอย่างไม่มีการแบ่งแยกซึ่งกันและกัน

화 (融和) : 서로 어울려 다툼이 없이 화목하게 됨. คำนาม
🌏 ความสามัคคี, ความกลมกลืน, ความปรองดอง, ความกลมเกลียว, ความสอดคล้อง: การกลายเป็นปรองดองกันอย่างไม่มีการทะเลาะเพราะต่างเข้ากันได้ดี

화되다 (融和 되다) : 서로 어울려 다툼이 없이 화목하게 되다. คำกริยา
🌏 สามัคคี, กลมกลืน, ปรองดอง, กลมเกลียว, สอดคล้อง: กลายเป็นปรองดองกันอย่างไม่มีการทะเลาะเพราะต่างเข้ากันได้ดี

화하다 (融和 하다) : 서로 어울려 다툼이 없이 화목하게 되다. คำกริยา
🌏 สามัคคี, กลมกลืน, ปรองดอง, กลมเกลียว, สอดคล้อง: กลายเป็นปรองดองกันอย่างไม่มีการทะเลาะเพราะต่างเข้ากันได้ดี


:
การเปรียบเทียบวัฒนธรรม (78) งานครอบครัว (เทศกาลประเพณี) (2) ปัญหาสิ่งแวดล้อม (226) การใช้บริการโรงพยาบาล (204) การแสดงและการรับชม (8) การบอกวันที่ (59) การบอกเวลา (82) การแนะนำ(ครอบครัว) (41) การใช้การคมนาคม (124) การใช้บริการองค์กรสาธารณะ(ห้องสมุด) (6) การใช้ชีวิตในโรงเรียน (208) การใช้บริการองค์กรสาธารณะ(ไปรษณีย์) (8) สุขภาพ (155) กฎหมาย (42) การนัดหมาย (4) การทักทาย (17) จิตวิทยา (191) สุดสัปดาห์และการพักร้อน (47) วัฒนธรรมการกิน (104) ประวัติศาสตร์ (92) การเชื้อเชิญและการเยี่ยมเยือน (28) ภูมิอากาศ (53) ภาษา (160) ระบบสังคม (81) การขอบคุณ (8) การใช้บริการองค์กรสาธารณะ(สำนักงานตรวจคนเข้าเมือง) (2) การสั่งอาหาร (132) ความแตกต่างด้านวัฒนธรรม (47) ปรัชญาและศีลธรรม (86) สื่อมวลชน (36)