💕 Start:

ระดับสูง : 3 ☆☆ ระดับกลาง : 2 ☆☆☆ ระดับเบื้องต้น : 0 NONE : 17 ALL : 22

관적 (客觀的) : 개인의 생각이나 감정에 치우치지 않고 사실이나 사물을 있는 그대로 보거나 생각하는 것. ☆☆ คำนาม
🌏 เชิงวัตถุวิสัย, แบบปรนัย: การคิดหรือมองเห็นเรื่องหรือวัตถุตามที่เป็นอยู่โดยปราศจากความคิดหรือความรู้สึกส่วนตัว

관적 (客觀的) : 개인의 생각이나 감정에 치우치지 않고 사실이나 사물을 있는 그대로 보거나 생각하는. ☆☆ คุณศัพท์
🌏 เชิงวัตถุวิสัย, แบบปรนัย: ที่คิดหรือมองเห็นเรื่องหรือวัตถุตามที่เป็นอยู่โดยปราศจากความคิดหรือความรู้สึกส่วนตัว

석 (客席) : 극장이나 경기장 등에서 입장객 혹은 관람객들이 앉는 자리. คำนาม
🌏 เก้าอี้แขก, ที่นั่งแขก, ที่นั่งคนดู, ที่นั่งผู้ชม, ที่นั่งในโรงมหรสพหรือห้องประชุม: ที่นั่งสำหรับผู้ชมหรือผู้ที่เข้ามาชมในโรงภาพยนตร์หรือสนามแข่งกีฬา เป็นต้น

실 (客室) : 찾아온 손님을 거처하게 하거나 대접할 수 있도록 한 방. คำนาม
🌏 ห้องพักแขก, ห้องรับแขก: ห้องที่สามารถใช้ดูแลต้อนรับหรือใช้เป็นที่อยู่อาศัยของแขกที่มาเยือนได้

지 (客地) : 자기가 원래 살던 곳을 떠나 머무르는 곳. คำนาม
🌏 ต่างบ้านต่างเมือง, ต่างประเทศ, เมืองนอก, ต่างถิ่น, ต่างแดน: สถานที่อยู่อาศัยที่ห่างไกลจากที่ที่ตนอาศัยอยู่เดิม

(客) : 찾아온 손님. คำนาม
🌏 แขก, ผู้รับเชิญ, ผู้มาเยี่ยม, อาคันตุกะ, คนแปลกหน้า: แขกที่มาหา

관 (客觀) : 개인의 생각이나 감정에 치우치지 않고 사실이나 사물을 있는 그대로 보거나 생각하는 것. คำนาม
🌏 การยึดถือวัตถุภาวะวิสัย, ข้อเท็จจริงภายนอก, ความเป็นรูปธรรม, การไม่เอาเรื่องส่วนตัวเข้ามาเกี่ยวข้อง, ปรวิสัย, วัตถุวิสัย, ปรนัย, โดยปราศจากอคติ: การคิดหรือมองเห็นเรื่องหรือวัตถุตามที่เป็นอยู่โดยปราศจากความคิดหรือความรู้สึกส่วนตัว

관성 (客觀性) : 개인의 생각이나 감정에 치우치지 않고 누가 보아도 그렇게 생각되는 사실이나 사물의 있는 그대로의 성질. คำนาม
🌏 สภาพวัตถุวิสัย, ปรวิสัย, การไม่เอาเรื่องส่วนตัวเข้ามาเกี่ยวข้อง: ลักษณะที่เป็นอยู่แต่เดิมของเรื่องหรือวัตถุที่ไม่ว่าใครมองเห็นก็คิดเช่นนั้นและไม่โน้มเอียงไปตามความคิดหรือความรู้สึกส่วนตัว

관식 (客觀式) : 주어진 여러 개의 보기 중에서 답을 고르게 하거나, 제시된 문장의 옳고 그름을 고르게 하거나, 주어진 여러 개의 진술을 서로 관련 있는 것끼리 짝을 짓도록 하는 시험 문제의 형식. คำนาม
🌏 แบบปรนัย, ปรนัย: รูปแบบของข้อสอบที่ให้เลือกคำตอบจากตัวเลือกหลายๆตัวที่กำหนดมาให้ หรือให้เลือกข้อผิดหรือข้อถูกของประโยคที่ให้มา หรือจับคู่สิ่งที่มีความสัมพันธ์กันจากข้อความหลายๆอันที่กำหนดมาให้

관화 (客觀化) : 어떤 사실이나 사물을 한쪽으로 치우치거나 왜곡하지 않고 있는 그대로 드러나도록 함. คำนาม
🌏 การทำให้เห็นเป็นรูปธรรม, การทำให้เป็นภววิสัย, การเสนอในรูปของวัตถุ: การทำให้เรื่องหรือวัตถุใดๆ ไม่โน้มเอียงไปทางหนึ่งหรือบิดเบือนและเผยออกมาตามที่เป็นอยู่

관화되다 (客觀化 되다) : 어떤 사실이나 사물이 한쪽으로 치우치거나 왜곡되지 않고 있는 그대로 드러나게 되다. คำกริยา
🌏 ถูกทำให้เห็นเป็นรูปธรรม, ถูกทำให้เป็นรูปธรรม, ถูกทำให้แลเห็น, ถูกทำให้เป็นตัวตน, ถูกทำให้สัมผัสได้: เรื่องหรือวัตถุใด ๆ ไม่โน้มเอียงไปทางหนึ่งหรือบิดเบือนและเผยออกมาตามที่เป็นอยู่

관화하다 (客觀化 하다) : 어떤 사실이나 사물을 한쪽으로 치우치거나 왜곡하지 않고 있는 그대로 드러나도록 하다. คำกริยา
🌏 ทำให้เห็นเป็นรูปธรรม, ทำให้เป็นรูปธรรม, ทำให้แลเห็น, ทำให้เป็นตัวตน, ทำให้สัมผัสได้: ทำให้เรื่องหรือวัตถุใด ๆ ไม่โน้มเอียงไปทางหนึ่งหรือบิดเบือนและเผยออกมาตามที่เป็นอยู่

귀 (客鬼) : 자신이 살던 곳이 아닌 다른 곳에서 죽은 사람의 혼령. คำนาม
🌏 วิญญาณตายต่างถิ่น, วิญญาณเร่ร่อน, ผีพเนจร: ดวงวิญญาณของคนที่ตายในสถานที่อื่น ซึ่งไม่ใช่สถานที่ที่ตนเคยอาศัยอยู่

기 (客氣) : 즉흥적 감정으로 인하여 쓸데없이 부리는 용기. คำนาม
🌏 ความกล้าที่ขาดการไตร่ตรอง, ความกล้าที่ขาดสติ, ความบ้าบิ่น: ความกล้าที่แสดงออกมาอย่างไม่มีประโยชน์จากอารมณ์หุนหัน

사 (客死) : 자신의 집이나 고향에서 멀리 떨어진 곳에서 죽음. คำนาม
🌏 การตายนอกบ้าน: การตายในสถานที่ที่ห่างไกลจากบ้านเกิดหรือบ้านของตนเอง

사하다 (客死 하다) : 자신의 집이나 고향에서 멀리 떨어진 곳에서 죽다. คำกริยา
🌏 ตายนอกบ้าน: ตายในสถานที่ที่ห่างไกลจากบ้านเกิดหรือบ้านของตนเอง

식구 (客食口) : 원래 식구가 아닌데 같은 집에 묵고 있는 사람. คำนาม
🌏 ผู้อาศัย, แขกของบ้าน: คนที่เดิมทีไม่ใช่คนในครอบครัวแต่พักอาศัยอยู่ในบ้านเดียวกัน

원 (客員) : 어떤 일에 직접적인 책임이 없이 참가한 사람. คำนาม
🌏 คนรับเชิญ, แขกรับเชิญ, สมาชิกรับเชิญ, แขกพิเศษ: บุคคลที่มาเข้าร่วมในงานใดๆ โดยไม่มีส่วนรับผิดชอบโดยตรง

주 (客主) : (옛날에) 다른 지역에서 온 상인을 상대로 여관 영업을 하며 물건을 맡아 팔거나 물건 살 사람을 소개해 주기도 하던 사람. 또는 그런 집. คำนาม
🌏 แค็กจู: (ในอดีต)คนที่ทำกิจการที่พักชั่วคราวแก่พ่อค้าจากต่างถิ่น พร้อมกับรับฝากสินค้าเพื่อขาย หรือแนะนำผู้ที่จะซื้อสินค้าให้ หรือบ้านเรือนที่ทำกิจการเช่นนั้น

줏집 (客主 집) : (옛날에) 먼 데서 온 상인이나 나그네를 상대로 하던 여관. คำนาม
🌏 แค็กจุดจิบ: (ในอดีต)ที่พักแรมสำหรับพ่อค้าหรือนักเดินทางที่มาจากแดนไกล

차 (客車) : 기차에 화물이 아닌 손님을 태우는 칸. คำนาม
🌏 ตู้รถไฟ, ตู้รถไฟโดยสาร, โบกี้: ห้องในรถไฟที่บรรทุกผู้โดยสาร ไม่ใช่สัมภาระ

체 (客體) : 사람이 감각하거나 인식하거나 행동하는 것의 대상이 되는 사물. คำนาม
🌏 วัตถุวิสัย, วัตถุประสงค์, จุดประสงค์, เป้าหมาย, จุดมุ่งหมาย: วัตถุที่เป็นเป้าหมายของการสัมผัส การรับรู้ หรือการกระทำของมนุษย์


:
การใช้ชีวิตในโรงเรียน (208) การใช้บริการองค์กรสาธารณะ (8) การพรรณนารูปลักษณ์ภายนอก (97) การขอโทษ (7) การอธิบายการปรุงอาหาร (119) การแนะนำ(ตนเอง) (52) การใช้บริการองค์กรสาธารณะ (59) การพรรณนาเหตุการณ์ อุบัติเหตุ ภัยพิบัติ (43) กีฬา (88) ปัญหาสังคม (67) วัฒนธรรมการกิน (104) ชีวิตการอยู่อาศัย (159) การบอกบุคลิกลักษณะ (365) การใช้บริการร้านขายยา (10) งานบ้าน (48) วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (91) การโทรศัพท์ (15) การสั่งอาหาร (132) มนุษยสัมพันธ์ (255) การทักทาย (17) วัฒนธรรมมวลชน (52) ประวัติศาสตร์ (92) การบริหารเศรษฐกิจ (273) การใช้ชีวิตประจำวัน (11) การท่องเที่ยว (98) ระบบสังคม (81) สถาปัตยกรรม (43) มนุษยสัมพันธ์ (52) การหาทาง (20) การบอกตำแหน่งที่ตั้ง (70)